วันจันทร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2555

Executive Summary online

ระดับของโครงการ
โครงการ ศูนย์บำบัดและรักษาโรคมะเร็ง บางพลีจึงเปรียบเหมือนกับเป็นศูนย์กลางเพื่อการรวมตัวกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คำปรึกษาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง บำบัดและรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ให้บริการทางการแพทย์ที่มีความซับซ้อน และเทคโนโลยีเครื่องมือที่ทันสมัย มีความเป็นสากล และมุ่งเน้นกลุ่มผู้ใช้บริการไปที่ผู้ที่มีความ เสี่ยง และผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกกรณี
จังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทยเป็นเขตชุมชน อุตสาหกรรมและมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ทำให้มีประชาชนหนาแน่น มีปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ระบบบริการสาธารณสุขมีแต่โรงพยาบาลขนาดเล็กและขนาดกลาง 

ไม่มี ศูนย์บริการทางการแพทย์ระดับ Excellence Center หรือระดับคณะแพทยศาสตร์  ที่จะช่วย พัฒนาระบบสาธารณสุขในพื้นที่ในด้านการศึกษา วิจัยและบริการทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ฯ จึงได้เสนอโครงการพัฒนารามาธิบดีสู่คณะแพทย์ศาสตร์ชั้นนำในเอเชีย เพื่อพัฒนาวงการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย อันจะเกิดประโยชน์ ต่อประชาชน ทั้งในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการและเขตรอบนอก ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร รวมถึงประชาชนใน 7 จังหวัดภาคตะวันออก


ที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.โครงการนี้จึงเปรียบเหมือนกับเป็นศูนย์กลางเพื่อการรวมตัวกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คำปรึกษาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง บำบัดและรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ให้บริการทางการแพทย์ ที่มีความซับซ้อน และเทคโนโลยีเครื่องมือที่ทันสมัย มีความเป็นสากล และมุ่งเน้นกลุ่มผู้ใช้บริการ ไปที่ผู้ที่มีความเสี่ยง และ ผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกกรณี ซึ่งสถานที่เช่นนี้มีเพียง 7 แห่งในประเทศไทย ที่เป็นศุนย์มะเร็งโดยเฉพาะ ไม่ได้อยู่ในโรงพยาบาล โดยทั่วไป
            เนื่องจากเขตอำเภอบางพลีเป็นเขตที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นน้อยจึงทำให้สัดส่วน ของประชากรมีพื้นที่สาธารณะ และนันทนาการไม่เพียงพอต่อความต้องการ






ภาพที่ 1 แสดงจำนวนศุนย์มะเร็งภูมิภาค 7 ศูนย์
 (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร, 2551)

จากรูปที่ 1  แสดงถึงจำนวนศูนย์มะเร็งภูมิภาคที่มีเพียง 8 ศูนย์ รวมสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ซึ่งไม่ได้นับรวมหน่วยมะเร็งในโรงพยาบาลทั่วไป ซึ่งเป็นตัวเลขของสถานที่ที่น้อย เมื่อเทียบ กับสถิติผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นๆทุกวัน

 2.สถิติผู้ป่วย
ตารางที่ 1 สถิติผู้ป่วยรายใหม่ของภาคกลาง ณ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ

(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2555)

จากตารางที่1
จะพบว่าจำนวนผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นสูงขึ้นเรื่อยๆในแต่ละปี  ทำให้การมีศูนย์มะเร็ง
ในประเทศไทยเพียง 8 ศูนย์ และในโรงพยาบาลต่างๆ ก็ไม่เพียงพอ เพราะโรงพยาบาลทั่วไปนั้น ผู้ป่วยโรคมะเร็งต้องไปเผชิญต่อผู้ป่วยโรคอื่นๆอีกมาก และในการรอรักษา ก็อาจจะทำให้ เสียสุขภาพจิต จนก่อนให้เกิดความเครียดอีกด้วย ซึ่งสำคัญมากผู้ป่วยโรคมะเร็งต้องไม่ควรเครียด

กราฟที่ 14 แสดงโรคมะเร็งที่พบบ่อย 10 อันดับแรกในเพศชาย


(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ , 2553)



3. จังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทยเป็นเขตชุมชน อุตสาหกรรมและมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ทำให้มีประชาชนหนาแน่น มีปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ระบบบริการสาธารณสุขมีแต่โรงพยาบาลขนาดเล็กและขนาดกลาง
ไม่มี ศูนย์บริการทางการแพทย์ระดับ Excellence Center หรือระดับคณะแพทยศาสตร์  ที่จะช่วย พัฒนาระบบสาธารณสุขในพื้นที่ในด้านการศึกษา วิจัยและบริการทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ฯ จึงได้เสนอโครงการพัฒนารามาธิบดีสู่คณะแพทย์ศาสตร์ชั้นนำในเอเชีย เพื่อพัฒนาวงการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย อันจะเกิดประโยชน์ ต่อประชาชน ทั้งในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการและเขตรอบนอก ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร รวมถึงประชาชนใน 7 จังหวัดภาคตะวันออก 

การเดินทางเชื่อมต่อโครงข่ายคมนาคมต่างๆ เช่น ทางบก และทางอากาศ


4. โครงการพัฒนารามาธิบดีสู่คณะแพทยศาสตร์ชนั้ นําในเอเชีย (โครงการรามาธิบดี – บางพลี)



คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ดําเนินโครงการ “พัฒนา รามาธิบดีส่ํคณะแพทยศาสตร์ชั้นนําในเอเชีย” หรือโครงการรามาธิบดี-บางพลี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 ซึ่งเป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 ปี โครงการนี้เป็น โอกาสทองของสังคมไทย ที่จะได้รับการพัฒนา โดยใช้ศักยภาพบุคลากรรามาธิบดีให้เกิด ประโยชน์สูงสุด โดยจะเอื้ออํานวย ให้เกิดการผลิตแพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางสาธารณสุข ในรูป แบบใหม่ เพื่อที่ จะรับใช้สังคมไทย ได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ สนองความต้องการของประชาชน และเชื่อมโยง กับระบบสุขภาพของประเทศ เป็นบัณฑิตรุ่น ใหม่มีความพร้อมที่จะเป็นผู้นำ ในการเปลี่ย นแปลงสังคมให้ดีขึ้น นอกจากนี้ โครงการนี้จะช่วยพัฒนาแพทยศาสตรศึกษาของประเทศเพิ่มคุณค่าให้แก่สถาบันผลิตแพทย์ทุกแห่ง ในประเทศ ให้มีการผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มีมาตรฐานใกล้เคียงกัน เนื่องจากโครงการรามาธิบดี-บางพลีตั้งอยในจังหวัด สมุทรปราการซึ่งเป็นจังหวัดอุตสาหกรรม โครงการนี้ จะช่วยพัฒนา ด้านอาชีวะเวชศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และ ความปลอดภัยของประชาชนที่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่มคุณ ภาพชีวิตของประชาชนกลุ่ม นี้โดยเฉพาะ และขยายมิติของการพัฒนา ไปทางด้านสังคม และเศรษฐกิจด้วย
เนื่องจากโครงการนี้อยู่ในส่วนภูมิภาค จึงเป็นโอกาสทีจะดําเนินการให้เกิดการพัฒนา ระบบบริการ สุขภาพอย่างครบวงจร โดยเชื่อมโยงกับ ระบบสาธารณสุข ระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ ของประเทศ มาส่กูารบริการระดับตติยภูมิที่โรงพยาบาลรามาธิบดีวิทยาเขตพญาไท โดยมีการดําเนินการให้เกิดคุณค่าเพิ่มและ ประสิทธิภาพในทุกๆ ขั้นตอนของสายธารการดูแลผ้ป่วยอย่างครบวงจร
นอกจากนี้โครงการรามาธิบดี-บางพลี จะพัฒนาการแพทย์ทางเลือก เพื่อผสมผสานกับการแพทย์ แผนปัจจุบัน โดยคัดสรรกระบวนการรักษาที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รองรับ เป็นการกระตุ้น ให้เกิดเส้นทาง การวิจัยใหม่ เพื่อประโยชน์นี้ต่อผ้ปู่วยอย่างแท้จริง
โครงการรามาธิบดี-บางพลี จึงเป็นโอกาสทองของประชาชนไทยที่จะได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในขณะเดียวกับที่เป็นโอกาสของบุคลากรรามาธิบดีที่จะใช้ความสามารถและศักยภาพ ที่มีอยู่ร่วมกัน เป็น พลังที่จะก่อให้เกิดคุณูปการแก่สังคมไทยอย่างเต็มภาคภูมิ และเป็นโครงการ ที่ชาวรามาธิบดี ทุกหมู่เหล่า น้อมใจกาย ดําเนินโครงการเพื่อถวายเป็นราชสักการะ และ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ในวโรกาสมหา มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา  ซึ่งสมพระเกียรติยศอย่างแท้จริง
กลุ่มเป้าหมายของโครงการ
1. ผู้ใช้หลัก เช่น ผู้ป่วยเฉพาะโรคมะเร็ง , ผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นโคมะเร็ง
2. ผู้ใช้รอง เช่น ญาติผู้ป่วย , ผู้มาติดต่อ
3.  ผู้ใช้ประจำ   เช่น บุคลาการทางการแพทย์ เช่น แพทย์เฉพาะทางโรคมะเร็ง , ทันตแพทย์ ,    เภสัชกร , พยาบาล , เจ้าหน้าที่ทุกแผนก , แม่บ้าน

ที่ตั้งโครงการ
   ตําบลบางปลา อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

เจ้าของ : คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
ขนาดพื้นที่ตั้งโครงการ : 321 ไร่
ขนาดพื้นที่โครงการ : 10,000 ตารางเมตร
FAR : ไม่จำกัด       OSR : ไม่จำกัด


SITE ANALYSIS

            คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับ มอบที่ดินซึ่งเป็นที่ราชพัสดุจากกรมธนารักษ์ จํานวน 300 ไร่ ตําบลบางปลา อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการเพื่อพัฒนาเป็นโครงการ รามาธิบดี-บางพลี ที่ดิน นี้อยู่ในบริเวณที่องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด สมุทรปราการ กําลังพัฒนาให้เป็นส่วนราชการขณะนี้กําลังมีการ ก่อสร้างสนามกีฬาจังหวัด ขนาดใหญ่  ซึ่งสามารถรองรับการแข่งขันกีฬาระดับชาติได้ มีสถานที่ราชการที่ตั้งอยู่ แล้ว ในบริเวณเดียวกัน ได้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี และบริเวณนี้อยู่ไม่ไกลจากที่ตั้ง ของมูลนิธิลูกพระดาบส ซึ่งเป็นโครงการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บริเวณนี้อยู่ชิดกับ ชายฝั่งทะเลตะวันออก ตั้งอยู่ที่โลเมตรที่ 49 บนถนนสุขุมวิทสายเก่าระหว่าง บางปู กับ คลองด่าน

สาธารณูปการ


ACCESS

มุมมอง


ภาพรวมของโครงการ





FUNCTION DIAGRAM


FUNCTION REQUIREMENT






























วันจันทร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2555

Executive Summary


ชื่อโครงการ ศูนย์บำบัดและรักษาโรคมะเร็ง


 นางสาวพิรชุดา  ปทุมนุกูลศรี
5100138



  วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยรังสิต
ปีการศึกษา 2555
ลิขสิทธิ์เป็นของ มหาวิทยาลัยรังสิต










บทนำ
นิยาม ความหมายโครงการ

ศูนย์มะเร็ง 
คือหน่วยงานที่เป็นศูนย์กลางในการวางแผนการบำบัดรักษาและให้คำปรึกษากับผู้ป่วย 
และผู้ที่มีความเสี่ยงเฉพาะโรคมะเร็ง

Cancer Center
 Is public location where members of a patient of cancer and person who have risk to be cancer

             จังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทยเป็นเขตชุมชน อุตสาหกรรมและมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ทำให้มีประชาชนหนาแน่น มีปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ระบบบริการสาธารณสุขมีแต่
โรงพยาบาลขนาดเล็กและขนาดกลาง ไม่มี ศูนย์บริการทางการแพทย์ระดับ Excellence Center  หรือระดับคณะแพทยศาสตร์  ที่จะช่วย พัฒนาระบบสาธารณสุขในพื้นที่ในด้านการศึกษา วิจัยและบริการทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ฯ จึงได้เสนอโครงการพัฒนารามาธิบดีสู่คณะแพทย์ศาสตร์ชั้นนำในเอเชีย เพื่อพัฒนาวงการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย อันจะเกิดประโยชน์ ต่อประชาชน ทั้งในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการและเขตรอบนอก ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร 
รวมถึงประชาชนใน 7 จังหวัดภาคตะวันออก โครงการ  ศูนย์บำบัดและรักษาโรคมะเร็ง บางพลีจึงเปรียบเหมือนกับเป็นศูนย์กลางเพื่อการรวมตัวกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คำปรึกษาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง บำบัดและรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ให้บริการทางการแพทย์ที่มีความซับซ้อน และเทคโนโลยีเครื่องมือที่ทันสมัย มีความเป็นสากล และมุ่งเน้นกลุ่มผู้ใช้บริการไปที่ผู้ที่มีความเสี่ยง และ ผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกกรณี



ประเด็นที่มาโครงการ (Problem Issues)
จังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทยเป็นเขตชุมชน อุตสาหกรรมและมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น ทำให้มีประชาชนหนาแน่น มีปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย ระบบบริการสาธารณสุขมีแต่โรงพยาบาลขนาดเล็กและขนาดกลาง
ไม่มี ศูนย์บริการทางการแพทย์ระดับ Excellence Center หรือระดับคณะแพทยศาสตร์  ที่จะช่วย พัฒนาระบบสาธารณสุขในพื้นที่ในด้านการศึกษา วิจัยและบริการทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ฯ จึงได้เสนอโครงการพัฒนารามาธิบดีสู่คณะแพทย์ศาสตร์ชั้นนำในเอเชีย เพื่อพัฒนาวงการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย อันจะเกิดประโยชน์ ต่อประชาชน ทั้งในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการและเขตรอบนอก ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร รวมถึงประชาชนใน 7 จังหวัดภาคตะวันออก
โครงการนี้จึงเปรียบเหมือนกับเป็นศูนย์กลางเพื่อการรวมตัวกันโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คำปรึกษาความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง บำบัดและรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง ให้บริการทางการแพทย์ ที่มีความซับซ้อน และเทคโนโลยีเครื่องมือที่ทันสมัย มีความเป็นสากล และมุ่งเน้นกลุ่มผู้ใช้บริการ ไปที่ผู้ที่มีความเสี่ยง และ ผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกกรณี ซึ่งสถานที่เช่นนี้มีเพียง 7 แห่งในประเทศไทย ที่เป็นศุนย์มะเร็งโดยเฉพาะ ไม่ได้อยู่ในโรงพยาบาล โดยทั่วไป

1.          ประเด็นที่มาโครงการด้านหน้าที่ใช้สอย (Function)
            เนื่องจากเขตอำเภอบางพลีเป็นเขตที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นน้อย จึงทำให้สัดส่วนของประชากรมีพื้นที่สาธารณะ และนันทนาการไม่เพียงพอต่อความต้องการ


ภาพที่ 1 แสดงจำนวนศุนย์มะเร็งภูมิภาค 7 ศูนย์
 (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร, 2551)

จากรูปที่ 1  แสดงถึงจำนวนศูนย์มะเร็งภูมิภาคที่มีเพียง 8 ศูนย์ รวมสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ซึ่งไม่ได้นับรวมหน่วยมะเร็งในโรงพยาบาลทั่วไป ซึ่งเป็นตัวเลขของสถานที่ที่น้อย เมื่อเทียบ กับสถิติผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้นๆทุกวัน

กราฟที่ 14 แสดงโรคมะเร็งที่พบบ่อย 10 อันดับแรกในเพศชาย

จากกราฟที่ 1
            โรคมะเร็งที่พบบ่อย 10 อันดับแรกในเพศชาย ได้แก่
1.          มะเร็งปอด
2.          มะเร็งลำไส้ใหญ่
3.          มะเร็งตับ
4.          มะเร็งหลอดอาหาร
5.          มะเร็งโพรงหลังจมูก
6.         มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
7.          มะเร็งที่โคนลิ้น
8.          มะเร็งในช่องปาก
9.          มะเร็งกล่องเสียง
10.     มะเร็งกระเพราะอาหาร


กราฟที่ 24 แสดงโรคมะเร็งที่พบบ่อย 10 อันดับแรกในเพศหญิง

จากกราฟที่ 2
            โรคมะเร็งที่พบบ่อย 10 อันดับแรกในเพศหญิงได้แก่
1.          มะเร็งเต้านม
2.          มะเร็งปากมดลูก
3.          มะเร็งลำไส้ใหญ่
4.          มะเร็งปอด
5.          มะเร็งมดลูก
6.         มะเร็งรังไข่
7.          มะเร็งตับ
8.          มะเร็งต่อมไทรอยด์
9.          มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
10.     มะเร็งกระเพราะอาหาร

1.          ประเด็นโครงการที่มาด้านรูปแบบ (Form)
            เนื่องจากศูนย์บำบัดรักษาเฉพาะโรคหรือโรงพยาบาลจะมีขนาดใหญ่ ตามจำนวนของเตียงและมุ่งเน้นไปที่ผู้ใช้เพียงบางกลุ่มเท่านั้น เช่นผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรค และ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ทุกกรณี ที่สามารถใช้งานได้ จึงเกิดข้อจำกัดในเรื่องมลภาวะหรือภาพลักษณ์ของผู้ป่วย สำหรับ ผู้มาเยี่ยม ที่ต้องเผชิญกับผู้ป่วยรายอื่น จึงต้องมีหน่วยงานสำหรับผู้ที่ยังสุขภาพปกติ ได้เข้ามา ประเมินความเสี่ยงให้กับตนเอง เพื่อที่จะได้ดูแลสุขภาพให้ดีและป้องกันในคราวต่อไปและเห็นใจผู้ป่วยท่านอื่นๆ

2.          ประเด็นที่มาด้านเทคโนโลยี (Technology)
            เนื่องจากศูนย์บำบัดโรคมะเร็งในสมัยก่อน การรักษาอาจยังไม่ทันสมัย จึงทำให้อัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ ณ ปัจจุบันได้มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยทัดเทียมสากล เครื่องมือที่ใช้ในการรักษาด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ เครื่องฉายรังสีเร่งอนุภาค True Beam” มีเครื่องแรกในเอเชียอยู่ที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาโรคมะเร็ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การลดการเกิดผลข้างเคียงแก่ผู้ป่วย ด้วยการนำวิธีการฉายรังสีเทคนิค SBRT (Stereotactic Body Radiotherapy) มาใช้กับ “เครื่องฉายรังสีเร่งอนุภาค True Beam”โดยผู้ป่วยจะได้รับผลประโยชน์ด้านการรักษาสูงสุด ทั้งระยะเวลาในการฉายรังสีให้กับผู้ป่วย ที่จากเดิมต้องใช้เวลาถึง 20 นาทีในการฉายรังสี แต่เครื่องนี้ใช้เวลาเพียง 3-5 นาทีเท่านั้น นอกจากนี้ การรักษาด้วย“เครื่องฉายรังสีเร่งอนุภาค True Beam” ยังสามารถเพิ่มปริมาณรังสีจากการฉายในก้อนเนื้องอกได้อย่างตรงจุดมากยิ่งขึ้น ลดปริมาณรังสีที่โดนเนื้อเยื่อปกติส่วนอื่นๆลง ส่งผลให้ผู้ป่วย ได้รับการรักษา ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เป็นการเพิ่มโอกาสในการรักษาในกลุ่มผู้ป่วย ที่ปฏิเสธการผ่าตัด ให้มีโอกาสหายขาดได้  ซึ่งก็นำไปสู่การเตรียมพื้นที่ในการออกแบบ เพราะด้วยอนุภาครังสีที่มีอนุคสูง ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อผู้ปกติและเจ้าหน้าที่  การเตรียมพื้นที่ จึงต้องคำนึง ไปถึงเรื่องโครงสร้างผนังของห้องฉายรังสีนี้ด้วย



 ภาพที่ 2 แสดงประเด็นที่มาด้านเทคโนโลยีของเครื่องฉายรังสีเร่งอนุภาค True Beam


ภาพที่ 3 แสดงผังโครงสร้างของห้องฉายแสงรังสีเร่งอนุภาค True Beam และ Trilogy

จากภาพที่ 3 แสดงถึงโครงสร้างผนังรับน้ำหนักคอนกรีตที่มีการกันแสงรังสีอย่างแน่นหนาเพื่อให้ปลอดภัยทั้งเจ้าหน้าที่ แพทย์ พยาบาล และจากผังนี้ ห้องฉายรังสีนี้ได้ตั้งอยู่ในส่วนของชั้นใต้ดินของอาคาร

วัตถุประสงค์การศึกษา
1)         เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อม และชุมชนที่เกี่ยวเนื่องกับการออกแบบโครงการ
2)         เพื่อศึกษาสถาปัตยกรรม และรูปแบบ ของสถาปัตยกรรม ที่เหมาะสมกับโครงการ
3)         เพื่อศึกษากลุ่มผู้ใช้โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ของผู้ใช้โครงการให้สัมพันธ์เป้าหมายของผู้ใช้โครงการ
4)         เพื่อศึกษาถึงกระบวนการทางการออกแบบในทุกขั้นตอน และความสัมพันธ์ของแต่ละขั้นตอนว่าสอดคล้องกันยังไง
5)         เพื่อศึกษาถึงการ ทำรายละเอียดโครงการ ทางสถาปัตยกรรม อย่างมีระบบ  เพื่อใช้ในการออกแบบ

ขอบเขตการศึกษา
1)         ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับชุมชน กิจกรรม พฤติกรรมของผู้ใช้งาน การจัดการและระบบการบริหารของโครงการ
2)         ศึกษาองค์ประกอบต่างๆ เนื้อที่ใช้สอยในแต่ละกิจกรรม รวมถึงความสัมพันธ์ของการใช้งานในแต่ละกิจกรรม
3)         ศึกษาจากกรณีอาคารตัวอย่างที่มีความใกล้เคียงทั้งทางด้าน กิจกรรม ระบบการจัดการและรูปแบบของอาคาร
4)         โครงการที่จะมีการพัฒนารวมถึงการฟื้นฟูอาคารในอนาคต ที่มีผลต่อการออกแบบโครงการมาวิเคราะห์
5)         ศึกษาเทคโนโลยีการก่อสร้างที่มีในโครงการ รวมถึงระบบอุปกรณ์ต่างๆที่เหมาะสมกับโครงการ









SKETCH DESIGN




imagine 
เป็นอาคาร low rise โอบล้อมด้วย ธรรมชาติ จากพืชพรรณไม้ มีสวนพฤกษศาสตร์เพื่อผ่อนคลายผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด เพื่อลดทอนความเครียดที่เกิดขึ้นสูงในช่วงวิกฤตชีวิต

อาคารมีความโล่ง โปร่ง นำแสงจากธรรมชาติเข้ามาภายในอาคาร ให้มากที่สุด และเต็มไปด้วยธรรมชาติ พืชพรรณไม้ และสายน้ำ